สถานีอาวกาศ ISS (International Space Station) โครจรผ่านหน้าดวงจันทร์
เป็นทริปถ่ายภาพยายอาวกาศ International Space Station (ISS) โครจรผ่านหน้าดวงจันทร์ในวันที่ดวงจันทร์ใกล้โลกมากที่สุดในรอบปีนี้ (Super Moon) ในเขตภาคเหนือของไทยเรา บริเวณอำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ เวลาที่ผ่าน 00.14.32.xx ของเช้าวันนี้ 5 ธันวาคม 2560 เวลาที่โครจรผ่านดวงจันทร์ 0.56 วินาที คือแค่ครึ่งวินาทีเท่านั้น
การถ่ายจะทำกันได้ 2 แบบ
-
ถ่ายเป็นภาพนิ่ง ซึ่งต้องใช้กล้องที่มีความเร็วในการถ่ายต่อเนี่ยงมาก ๆ สัก 10 เฟรม/วินาทีขึ้นไป และต้องถ่ายให้ได้เวลาที่ผ่านจริง ๆ จึงจะถ่ายได้
-
ถ่ายแบบ VDO แบบนี้ได้ภาพแน่นอน โดยนำไฟล์วีดีโอมาถอดออกเป็นภาพนิ่ง แล้วนำภาพที่ติด ISS ทั้งหมดมาวางซ้อนกัน ดังในภาพที่ผมมีมาให้ชมครับ
The International Space Station (ISS) is a space station, or a habitable artificial satellite, in low Earth orbit. Its first component launched into orbit in 1998, and the ISS is now the largest human-made body in low Earth orbit and can often be seen with the naked eye from Earth. The ISS consists of pressurised modules, external trusses, solar arrays, and other components. ISS components have been launched by Russian Proton and Soyuz rockets, and American Space Shuttles.
The ISS serves as a microgravity and space environment research laboratory in which crew members conduct experiments in biology, human biology, physics, astronomy, meteorology, and other fields. The station is suited for the testing of spacecraft systems and equipment required for missions to the Moon and Mars. The ISS maintains an orbit with an altitude of between 330 and 435 km (205 and 270 mi) by means of reboost manoeuvres using the engines of the Zvezda module or visiting spacecraft. It completes 15.54 orbits per day.
ขอบคุณข้อมูล : From Wikipedia, the free encyclopedia : https://en.wikipedia.org/wiki/International_Space_Station
มี VDO มาฝากด้วยครับ ช่วงแรกโครจรผ่านที่ความเร็วจริง ต่อด้วยการทำแบบ Slow motion 0.25X เพื่อให้เห็นได้ชัด ๆ ครับ
You must be logged in to post a comment.